ช่างโครงหลังคาสกลนคร
รับต่อเติมหลังคาหน้าบ้านสกลนคร
หลังคาเมทัลชีท ฝ้าระแนง หลังคาสไตล์โมเดิร์น หลังคาโปร่งแสง หลังคาโพลี ไม้ระแนง ไม้รั้ว ไม้พื้นไม้เทียม ฝ้าระแนง หลังคาเมทัลชีทPUโฟมสีขาวหน้าบ้านและข้างบ้าน เมทัลชีทฝ้าระแนง นัดคุยหน้างาน
👉ออกแบบตามงบ 👉ออกแบบหน้างาน 👉วัดหน้างานประเมินราคา
หลังคาโครงเหล็กสกลนคร
โครงหลังคาเมทัลชีทสกลนคร
ต่อเติมหลังหน้าบ้านสกลนคร
เสาระแนงเหล็กลายระแนงสกลนคร
งานระแนงบังตาสกลนคร
พื้นไม้คอนวูดสกลนคร
ติดต่อสอบถาม
รีโนเวทบ้านจัดสรร ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน ต่อเติมบ้านจัดสรร ต่อเติมหน้าบ้าน
รีโนเวทบ้านเดี่ยวสกลนคร
รีโนเวทบ้านชั้นเดียวสกลนคร
ต่อเติมบ้านบ้านเดี่ยวสกลนคร
ต่อเติมบ้านจัดสรรสกลนคร
ต่อเติมหน้าบ้านสกลนคร
ช่างต่อเติมครัวหลังบ้าน ประตูรั้วบ้านสแตนเลส โครงหลังคา ต่อเติมครัวหลังบ้าน ช่างบิ้วอิน หลังคากัน รีโนเวทบ้านจัดสรร ต่อเติมหลังบ้านราคาประหยัด
กันสาดตราดีไลท์สกลนคร
หลังคาโปร่งแสงสกลนคร
โครงเหล็กสกลนคร
โครงหลังคาสกลนคร
ช่างรับเหมารีโนเวทบ้านบ้าน รับเหมาสบิ้วส์อิน ต่อเติมรีโนเวท ต่อเติม ปูกะเบื้อง ทำฝ้าเพดานทุกชนิด ซ่อมแซมบ้านทุกจุด ซ่อมแซมกระเบื้อง ซ่อมแซมฝ้า
ต่อเติมหลังบ้านสกลนคร
แบบครัวหลังบ้านสกลนคร
ต่อเติมครัวหลังบ้านแบบโปร่งสกลนคร
ต่อเติมครัวหลังบ้านราคาสกลนคร
ทําครัวหลังบ้านสกลนคร
ต่อเติมครัวหลังบ้านราคาประหยัดสกลนคร
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้าน ต่อเติมโรงจอดรถหน้าบ้านให้แข็งแรงและตอบโจทย์
งานต่อเติมหลังคา หลังคาโรงรถ งานโครงหลังคา สไตล์โมเดิร์น งานโครงหลังคา ดีไลท์ + ระแนง งานโครงหลังคา + โครงระแนงไม้เทียม
ต่อเติมหน้าบ้านสกลนคร
สกลนครต่อเติมหลังคาหน้าบ้านแบบไหนดี
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านสกลนคร
ต่อหลังคาหน้าบ้านสกลนคร
แบบต่อเติมหน้าบ้านสกลนคร
สกลนครต่อเติมหน้าบ้านสวยๆ
รับทำรั้วบ้านสกลนคร รับทำรั้วกำแพง รับทำรั้วโรงงาน รับทำรั้วโครงการ รับทำรั้ว คสล. รับทำรั้วสำเร็จรูป เราคือผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์กว่า 15 ปี ในการทำกำแพงรั้วทุกชนิด รับเหมาทำรั้วงานเอกชน
ทำหลังคาหน้าบ้าน
หากเราต้องการต่อเติมที่จอดรถ เราก็ต้องทำให้ถูกต้องถามกฎหมายด้วยนะครับ เพื่อที่จะได้ไม่เกิดปัญหาในภายหลัง โดยกฎหมายที่เกี่ยวข้องคือ กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 จะมีข้อกำหนดถึงลักษณะการกระทำที่เข้าข่าย “การดัดแปลงอาคาร รื้อถอนอาคาร” ซึ่งผมสามารถสรุปได้ 3 ประเด็นง่ายๆคือ
1.วัสดุ : มีการใช้วัสดุที่ต่างชนิด/ต่างขนาดกันจากโครงสร้างอาคารเดิม และกรณีที่ใช้วัสดุชนิดเดิม โครงสร้างใหม่นั้นจะต้องไม่เพิ่มน้ำหนักให้โครงสร้างเดิมมากเกิน 10%
2.ขนาดพื้นที่ : การลดหรือขยายพื้นที่หลังคาเกิน 5 ตารางเมตร และกรณีที่ขนาดพื้นที่ไม่เกินที่กำหนด แต่มีการเพิ่ม/ลดจำนวนเสาหรือคานก็จะนับ
3.การระบายน้ำ : อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลง ต้องจัดให้มีการระบายน้ำที่เหมาะสม (ติดตั้งรางน้ำฝน) เพื่อที่น้ำจากหลังคาจะได้ไม่ไหลกระเซ็นไปยังบ้านหลังข้างเคียง ไม่เกิดปัญหาระหว่างเพื่อนบ้านนั่น
และเมื่อการต่อเติมที่จอดรถของเราเข้าเกณฑ์ตามกฎหมายข้างต้น เวลาจะทำที่จอดรถก็จำเป็นที่จะต้องยื่นแบบขออนุญาตกับสำนักงานเขต และอาจรวมถึงนิติบุคคล สำหรับบางโครงการที่มีการจัดตั้งนิติบุคคลและกฎระเบียบที่เคร่งครัดด้วย
งบประมาณในกระเป๋า : เชื่อว่าหลายๆคนก็คงอยากใช้โครงสร้างดีๆ รับน้ำหนักได้มากๆ อย่างการลงเสาเข็มยาวไปเลยใช่มั๊ยครับ แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่จะมีงบเพียงพอนะ สุดท้ายแล้วคุณต้องกลับมามองเงินในกระเป๋า แล้วเลือกสิ่งที่คุณพอจะสามารถทำได้ ซึ่งก็จะเกิดคำถามต่อมาคือ “ถ้าใช้โครงสร้างแบบ On Ground พื้นจะทรุดหรือป่าว?”
แต่ก็ใช่ว่าการลงเสาเข็มยาวที่ต้องใช้งบประมาณเยอะๆ จะจำเป็นเสมอไป เพราะปกติแล้วจะมีการแยกโครงสร้างพื้นที่จอดรถออกจากโครงสร้างบ้าน เพื่อที่เวลาเกิดการทรุดตัวจะได้ไม่กระทบกับโครงสร้างหลัก เรียกว่า “การตัด Joints” ยังมีเคสตัวอย่างหนึ่งมาเล่าให้ฟังด้วยนะ
บ้านหลังนี้ตั้งอยู่ในทำเลที่พื้นดินมีการทรุดตัวได้ง่าย สังเกตจากพื้นถนนหน้าบ้านที่อยู่ต่ำกว่าพื้นบ้านที่ปลูกสร้างมากว่า 10 ปี โดยเจ้าของบ้านใช้วิธีต่อเติมพื้นที่จอดรถด้วยการลงเสาเข็ม จึงช่วยชะลอการทรุดตัวได้ค่อนข้างดี แต่กลับกัน…อาจเกิดปัญหาในการใช้งานได้ เพราะยิ่งนานวันทางลาดเอียง (Slope) หน้าบ้านก็จะยิ่งชันขึ้นเรื่อยๆ ไปตามพื้นถนนที่ทรุดลงไป จนอาจถึงจุดที่เป็นอัตรายต่อใต้ท้องรถบางรุ่นได้ครับ
ในเคสแบบนี้ผมแนะนำให้ใช้โครงสร้าง On Ground ให้พื้นที่จอดรถทรุดตัวลงไปพร้อมๆกับที่ดินและถนนหน้าบ้านไปเลยจะดีกว่า ซึ่งเราทำการตัด Joints ไว้แล้ว จึงไม่ส่งผลกระทบกับโครงสร้างบ้านหลักแต่อย่างใด ส่วนการเดินเข้าบ้านก็ใช้วิธีเพิ่ม Step ขั้นบันไดในการก้าวขึ้นแค่จุดเดียว จะทำได้ง่ายกว่าต้องมานั่งแก้ Slope หน้าบ้านทั้งหมดอีก
งบประมาณอยู่ 50,000 บาท ต้องการทำที่จอดรถทาวน์โฮมหน้ากว้าง 5.7 m. สำหรับรถยนต์ 2 คัน โชคดีที่ทางโครงการบ้านได้ลงเสาเข็มสั้นเอาไว้ให้แล้ว จึงไม่ต้องยุ่งยากทำเพิ่มเอง ส่วนตัวของเจ้าของบ้านเป็นคนชอบให้บ้านสว่าง ได้รับแสงธรรมชาติ และโปร่งโล่งไม่อึดอัด รวมถึงชอบล้างรถด้วยตัวเองบ่อยๆอีกด้วย ดังนั้นวัสดุที่เหมาะจึงมีดังต่อไปนี้
1.วัสดุปูพื้นทรายล้าง : เนื่องจากมีพื้นผิวที่เป็นทรายและหินกรวด ค่อนข้างเป็นธรรมชาติ อีกทั้งยังช่วยป้องกันอุบัติเหตุจากการลื่นล้ม เวลายืนล้างรถที่หน้าบ้านได้อีกด้วย
2.วัสดุมุงหลังคาไฟเบอร์กลาส : มีความกึ่งโปร่งแสง ทำให้ได้ความโปร่งโล่งและมีแสงธรรมชาติส่องผ่านลงมา ให้ความสว่างแต่ไม่ร้อนจนเกินไป รวมถึงยังมีน้ำหนักเบา ไม่เป็นภาระในการเพิ่มน้ำหนักให้กับเสาเข็มสั้นที่พื้นมากเกินไป เพราะแค่รถ 2 คันก็มีน้ำหนักมากกว่า 2,000 kg. แล้วนั่นเอง
ลองมาคำนวณค่าใช้จ่ายกัน
-สมมุติ พื้นที่ใช้งานจริงของทาวน์โฮมคือ 5.5 x 6 = 33 ตร.ม.
-ค่าทำพื้นทรายล้าง 300 บาท/ตร.ม. , หลังคาไฟเบอร์กลาส 2,400 บาท/ตร.ม.
-ดังนั้น ค่าทำพื้นทรายล้าง + ค่าหลังคาไฟเบอร์กลาส = (33 x 300) + (33 x 2,400) = 89,100 บาท (<<< เกินงบ 50,000 บาท)
-ลองเปลี่ยนวัสดุหลังคามาใช้เป็นโพลีคาร์บอเนต ที่มีคุณสมบัติโปร่งแสงเหมือนกัน แต่มีราคาที่ถูกกว่า (1,200 บาท/ตร.ม.) แลกกับความแข็งแรงทนทานที่ลดลง
-ค่าทำพื้นทรายล้าง 300 บาท/ตร.ม. , หลังคาโพลีคาร์บอเนต 1,200 บาท/ตร.ม.
-ดังนั้น ค่าทำพื้นทรายล้าง + ค่าหลังคาโพลีคาร์บอเนต = (33 x 300) + (33 x 1,200) = 49,500 บาท